โครงสร้างการบริหาร
งานบริหารบุคคล
งานการคลัง
งานพัสดุและงานจัดเก็บรายได้
งานงบประมาณ
งานนโยบายและแผน
งานกิจการสภา
งานส่งเสริมการเกษตร
ส่วนการศึกษา
งานสวัสดิการสังคม
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระบบ MIS
การให้บริการ
ปฏิทินกิจกรรม
เมษายน 2567
อา พฤ
31 1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 2627
28 29 30 1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
วันที่ 26 เมษายน 2567
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านคิดว่า อบต.หลุมข้าว ควรให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด
เด็ก- เยาวชน
สตรี
คนชรา
คนพิการ
อบต.ในเครือข่าย

สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
ออนไลน์ทั้งหมด 28 คน
หมายเลข IP 3.145.156.250
คุณเข้าชมลำดับที่ 6,960,196

ศูนย์ช่วยเหลือประชาชน


  หน้าแรก     ประวัติ/ วิสัยทัศน์การพัฒนา 

ประวัติ/ วิสัยทัศน์การพัฒนา
ประวัติ/ วิสัยทัศน์การพัฒนา  

ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว

 

                ตำบลหลุมข้าว เดิมเป็นตำบลธารประสาท แต่ได้แยกออกมาเป็นตำบลหลุมข้าว เมื่อปี พ.ศ.2513 มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 17 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหลุมข้าว หมู่ที่ 2 บ้านขาคีม หมู่ที่ 3 บ้านสระจันทร์ หมู่ที่ 4 บ้านท่ากระสัง หมู่ที่ 5 บ้านห้วยน้อย หมู่ที 6 บ้านกอก หมู่ที่ 7 บ้านดงพลอง หมู่ที่ 8 บ้านไพล หมู่ที่ 9 บ้านท่ากระทุ่ม หมู่ที่ 10 บ้านใหม่หนองบัว หมู่ที่ 11 บ้านซาด หมู่ที่ 12 บ้านเพิก หมู่ที่ 13 บ้านโกรกขาม หมู่ที่ 14 บ้านไพลพัฒนา หมู่ที่ 15 บ้านหลุมข้าวพัฒนา หมู่ที่ 16 บ้านดงพลองพัฒนา หมู่ที่ 17 บ้านโนนตะโก

วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว

วิสัยทัศน์

          วิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว

          วิสัยทัศน์ (Vision)  หมายถึง ถ้อยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณ์ ในอุดมคติซึ่งเป็น จุดหมายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้า เพราะเชื่อว่าหากสถานการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดคุณค่าหรือค่านิยมบางประการที่เรายึดถือ เช่น คุณภาพชีวิตของประชาชน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกัน เป็นต้น องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ไว้ ดังนี้  

ผู้นำบริการสาธารณะ ยกระดับคุณภาพชีวิต เกษตรกรรมก้าวหน้า สนับสนุนการศึกษาสืบสานวัฒนธรรม น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ธรรมาภิบาลเพื่อประชาชน   

 

ยุทธศาสตร์

                องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว  อำเภอโนนสูง  จังหวัดนครราชสีมา  ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ไว้  ๖  ยุทธศาสตร์ ๑๗ แนวทางการพัฒนา ประกอบด้วย

ยุทธศาสตร์ที่   ๑  การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

           แนวทางในการพัฒนา     

           ๑.๑ ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคมให้สะดวก และรวดเร็ว

           ๑.๒ การจัดให้มีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือนและไฟฟ้าสาธารณะ

           ๑.๓ การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ

ยุทธศาสตร์ที่   ๒  ยุทธศาสตร์น้ำแก้จน

      แนวทางในการพัฒนา      

      ๒.๑ ก่อสร้าง  ซ่อมบำรุงและจัดหาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและเพื่อ  การเกษตร

      ๒.๒ ก่อสร้าง/ปรับปรุงระบบประปาให้มีมาตรฐาน

ยุทธศาสตร์ที่   ๓  ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถทางเศรษฐกิจและการเกษตร

        แนวทางในการพัฒนา                                                                                ๓.๑ พัฒนาฝีมือแรงงานและส่งเสริมการประกอบอาชีพแก่ประชาชน

       ๓.๒ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

        ๓.๓ ส่งเสริมและสนับสนุน การทำเกษตรอินทรีย์    

ยุทธศาสตร์ที่   ๔  ยุทธศาสตร์สร้างสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

          แนวทางในการพัฒนา      

           ๔.๑ การสังคมสงเคราะห์  และพัฒนาคุณภาพชีวิต

           ๔.๒ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

           ๔.๓ การสาธารณสุข  การสร้างสุขภาพ  การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ  การฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน

           ๔.๔ การส่งเสริมด้านการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น

           ๔.๕ การส่งเสริมด้านศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณี  กีฬา และนันทนาการ

ยุทธศาสตร์ที่   ๕  ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความสมดุล อย่างยั่งยืน

           แนวทางในการพัฒนา      

          ๕.๑ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่   ๖  ยุทธศาสตร์การบริหารราชการตามหลักการบริหารบ้านเมืองที่ดี

           แนวทางในการพัฒนา      

           ๖.๑  ส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน                         ๖.๒  ส่งเสริมศักยภาพของท้องถิ่นในทุก ๆ ด้าน ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี

           ๖.๓  การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

  ๒.๓  เป้าประสงค์

          ๑. ประชาชนได้ใช้ถนนในการคมนาคมขนส่งและสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐาน

          ๒. ประชาชนมีแหล่งน้ำใช้ในการอุปโภค – บริโภคอย่างทั่วถึง และเพียงพอต่อการทำการเกษตรตลอดปี

         ๓. ประชาชนมีทักษะความรู้ในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร

         ๔. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสังคมเข้มแข็ง

         ๕. ประชาชนได้ร่วมกิจกรรมประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น

         ๖. ประชาชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ

         ๗. ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

         ๘. มีการบริหารจัดการภาครัฐที่ดีและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน  


๒.๔  ตัวชี้วัด

               ๑. ร้อยละของประชาชนที่พึงพอในการใช้ถนนคมนาคมสัญจร-ไปมา

               ๒. ร้อยละของประชาชนที่พึงพอในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                ๓. ร้อยละของประชาชนที่พึงพอในการของการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน

                ๔. จำนวนไฟฟ้าครอบคลุมทุกพื้นที่

                 . จำนวนกลุ่มอาชีพมีน้ำเพียงพอสำหรับทำการเกษตร

                 ๖. จำนวนประชากรมีงานทำและรายได้เพิ่ม

                ๗. จำนวนสมาชิกในกลุ่มมีความสามัคคีและรู้จักการทำงานเป็นทีม

                 ๘. จำนวนประชาชนได้รับองค์ความรู้การประกอบอาชีพเพิ่ม

                 ๙. จำนวนกลุ่มเศรษฐกิจในชุมชนที่เพิ่มขึ้น

                ๑๐. จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมประเพณี ประเพณี  ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่น

               ๑๑.จำนวนประชาชนมีความรู้ สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีขึ้น

               ๑๒.จำนวนสมาชิกในครอบครัวเข็มแข็ง สังคมน่าอยู่

               ๑๓.จำนวนกลุ่มในชุมชน ปลอดยาเสพติด สังคมเป็นสุข

               ๑๔.จำนวนประชาชนที่ได้รับความปลอดภัยในการดำเนินการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย

               ๑๕. จำนวนคนชรา ผู้ด้อยโอกาส  คนพิการและผู้ป่วยเอดส์ ที่ได้รับการสงเคราะห์

              ๑๖. จำนวนประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม

             ๑๗. จำนวนปัญหามลพิษลดลง

             ๑๘.จำนวนบุคลากรมีศักยภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น

              ๑๙. จำนวนเครื่องมือเครื่องใช้เพียงพอต่อการให้บริการประชาชน

             ๒๐. จำนวนบุคลากรมีจิตสำนึกที่ดีต่อการทำงาน

             ๒๑. จำนวนประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น

 

๒.๕  ค่าเป้าหมาย

         ๑)  ด้านการได้รับบริการด้านโครงสร้างพื้นฐานให้มีความสะดวกและรวดเร็ว     

         ๒)  ประชาชนมีศักยภาพมีรายได้เพียงพอสามารถพึ่งตนเองได้                    

         ๓)  ประชาชนมีความรู้และบำรุงรักษาศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม           

         ๔)  มลภาวะและสิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษทำให้ชุมชนน่าอยู่อย่างสงบสุข             

         ๕)  การบริหารจัดการภาครัฐที่ดีและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน         

 

๒.๖  กลยุทธ์

          ๑. พัฒนาและปรับปรุงเส้นทางคมนาคมให้สะดวก และรวดเร็ว

          ๒. จัดให้มีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือนและไฟฟ้าสาธารณะ

          ๓. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ

          ๔. ก่อสร้าง  ซ่อมบำรุงและจัดหาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและเพื่อ  การเกษตร

          ๕. ก่อสร้าง/ปรับปรุงระบบประปาให้มีมาตรฐาน

           ๖. พัฒนาฝีมือแรงงานและส่งเสริมการประกอบอาชีพแก่ประชาชน

           ๗. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

           ๘.  ส่งเสริมและสนับสนุน การทำเกษตรอินทรีย์

           ๙.  การสังคมสงเคราะห์  และพัฒนาคุณภาพชีวิต

          ๑๐. ส่งเสริม สนับสนุน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

          ๑๑. พัฒนาระบบสาธารณสุข  การสร้างสุขภาพ  การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ  การฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน

          ๑๒. ส่งเสริมด้านการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น

          ๑๓. ส่งเสริมด้านศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณี  กีฬาและนันทนาการ

        ๑๔. ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

        ๑๕.  ส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน                          

         ๑๖.  ส่งเสริมศักยภาพของท้องถิ่นในทุก ๆ ด้าน ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี

         ๑๗.  พัฒนาศักยภาพของบุคลากร

๒.๗  จุดยืนทางยุทธศาสตร์

          ๑) พัฒนาระบบบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนและเศรษฐกิจ

         ๒) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนและชุมชน ให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้

         ๓) ส่งเสริมและพัฒนาการทำการเกษตรตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

         ๔) พัฒนาและส่งเสริมระบบการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา

         ๕) ส่งเสริมและพัฒนาฟื้นฟูกิจกรรมด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของคนในท้องถิ่น

         ๖) พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐที่ดีและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

สายตรงผู้บริหาร

ดาบตำรวจเริงศักดิ์ เข็มทอง
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว
084-8269444

นางสาวพิมพาภรณ์ รุจินรเชษฐ์
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว
081-6515594
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
เว็บไซต์บริการ
กฎหมายน่ารู้
ระบบสารสนเทศ
แบบสอบถาม
ข้อมูล ITA
ข้อมูล ITA
เฟสบุ๊ค
ประกาศเจตนารมณ์ (No Gift Policy)
ศูนย์ช่วยเหลือประชาชน
ประกาศช่องทางการแจ้งเบาะแสป้ายโฆษณารุกล้ำทางสาธารณะ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ร้องเรียนการทุจริต
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open data)
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องทุกข์
งานกฎหมายและระเบียบ
พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติราชการ
 
องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว
บ้านท่ากระสัง หมู่ที่ 4 ตำบลหลุมข้าว อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 30160
Tel : 0-4436-7093 , 08-1725-7645   Fax : 0-4436-7093
Email : lumkhaw@hotmail.com
Copyright © 2023 by OPSTECH All Right Reserved. 
ขอเครดิตฟรีหน่อยครับสมัครปุ๊บรับปั๊บไม่ต้องฝาก สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938 สล็อต สล็อตออนไลน์ thaicasinobin แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41 สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55 kubet ไทยคาสิโนออนไลน์ แทงบอล ซอคเกอร์ลีก คะแนนฟุตบอล เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์